วันเสาร์ที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2558

สมุนไพรพลูคาวมีประโยชน์อย่างไร?

ภูมิปัญญาโบราณ ใช้ได้จนถึงในปัจจุบัน-พรมมิ-พลูคาว

--ดวามรู้จากคัมภีร์พระเวทของอินเดีย ในสาขาอายุรเวท พบว่าใช้พืชที่ชื่อ พรมมิ เป็นยารักษาโรคความจำเสื่อม--ซึ่งของไทยก็มี เรียกว่า "ผักมิ"
ใช้แกล้มพวกลาบ น้ำพริก--มีการผลิตออกมาจำหน่ายแล้ว
---ผักพลูคาว ท้องใบมีสีแดง ขึ้นตามที่ชื้นแฉะ ปัจจุบันนำมาทำเป็นยาอายุวัฒนะ

สมุนไพรพลูคาวมีประโยชน์อย่างไร?
สรรพคุณทางเภสัชวิทยาของพลูคาวคือ *สร้างภูมค้มกันกระตุ้นการแบ่งตัวของเม็ดเลือดขาวและทำงานได้ดีขึ้น *ทำลายเซลล์มะเร็งเพาะเลี้ยงทั่วไป 5 ชนิด ; ปอด, สมอง, เนื้อร้าย, รังไข่, ลำไส้ใหญ่, เซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาว 5 ชนิด li210, u937, k526, raja, p3 hr 1 *ฆ่าเชื้อไวรัส ชนิด HIV-1, HIV1 ไข้หวัดใหญ่, งูสวัด, หัดเยอรมัน, โดยไม่ทำลายHostCell *ต้านเชื้อรา_กลาก, เกลื้อน, สังคัง, ฮ่องกงฟุต, สะเก็ดเงิน-ทอง, เยื้อหุ้มสมองอักเสบที่เกิดจากการติดเชื้อรา, ปอดอักเสบ *ต้านแบคทีเรีย_โรคท้องร่วง, โรคติดเชื้อทางเดินหายใจ, ฝี, โรคระบาดทางระบบสืบพันธ์_ตกขาว *ต้านอักเสบ_หลอดลมอักเสบ, ปอดอักเสบในเด็ก, รูมาตอย, แผลหลังการผ่าตัด, แผลไฟไหม่, น้ำร้อนลวก, หนองใน, ปวดฟัน, *ขับปัสสาวะ
-------------------------------------------
คำตอบที่ดีที่สุด - เลือกโดยเพื่อนๆ ที่ช่วยกันโหวต 
ประโยชน์ของพลูคาว
1. ฤทธิ์ระงับปวด เร่งการเจริญเติบโตของเซลล์ ห้ามเลือด รักษาปริมาณของเหลวในร่างกาย
2. ฤทธิ์ขับปัสสาวะ พบสารฟลาโวนอยด์ ที่แยกได้จากใบพลูคาวเป็นสารสำคัญในการออกฤทธิ์
3. ฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์ น้ำมันหอมระเหยจากการกลั่นส่วนเหนือดินของพลูคาว พบว่ามีฤทธิ์ต้านแบคทีเรียอย่างแรงต่อเชื้อ Bacillus cereus บาซิลลัส ซีเรียส และ B. Subtilis เชื้ออหิวาต์ Vibrio cholerae 0-1 เป็นแบคทีเรียแกรมลบ (Gram negative bacteria) ในสกุล Vibrioไม่สร้างสปอร์ จัดอยู่ในกลุ่ม facultavive anaerobe คือ เจริญได้ทั้งที่มีอากาศและไม่มีอากาศ เป็นแบคทีเรียที่ก่อโรค (pathogen) ซึ่งมีอาหาร Vibrio choleraeทำให้เกิดโรคอหิวาตกโรค ซึงแบคทีเรียนี้จะอาศัยอยู่ในน้ำที่สกปรกและมีการปนเปื้อนมาในอาหาร ซึ่งอหิวาตกโรคจัดเป็นโรคติดต่อที่สามารถถ่ายทอดจากคนหนึ่งสู่อีกคนหนึ่งได้ โดยสามารถจัดแบ่งกลุ่มของเชื้อ V.  และ V. Parahaemolyticus วิบริโอ พาราฮีโมลัยติคัส ที่ก่อโรคลำไส้ใหญ่อักเสบ 

4. ฤทธิ์ต้านไวรัส น้ำมันพลูคาว.มีชื่อวิทยาศาสตร์ ว่า Houttuynia cordata Thunb. จัดอยู่ในวงศ์ (family) Saururaceae เป็นพันธุ์ไม้ล้มลุกอายุหลายปี พบได้ทั่วไปในทวีปเอเชียตั้งแต่แถบเทือกเขาหิมาลัยไปจนถึงเวียดนาม รวมทั้งไทยและญี่ปุ่น พลูคาวจะเป็นพันธุ์ไม้ที่รู้จักกันดีของทางภาคเหนือของไทย ผักพื้นบ้านที่ทางภาคเหนือเรียกว่า “ผักคาวตอง” ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรืออีสานเรียก “ผักคาวทอง”... เนื่องจากว่ามัน ที่กลิ่นคล้ายกับกลิ่นคาวของปลา
สามารถช่วยกระตุ้นการสร้างภูมิคุ้มกันในร่างกายผู้ป่วยได้สูงขึ้น ทั้งยังช่วยเพิ่มประสิทธิ
ภาพในรักษาได้มากขึ้น เมื่อใช้ร่วมกับการรักษาด้วยวิธีรังสีรักษา ส่งผลให้อาการของผู้ป่วยดีขึ้นและยืดอายุของผู้ป่วยมะเร็งระยะลุกลามได้นานขึ้น

ปัจจุบัน พลูคาวหรือคาวตองได้ถูกนำมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ชื่อว่า "โดคุดามิ" โดยบริษัทโปรแลคประเทศไทยจำกัด ซึ่งมี นพ.สมทรง รักษ์เผ่า อดีตอธิบดีกรมควบคุมโรค(กรมควบคุมโรคติดต่อ) และอดีตอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เป็นเจ้าของผลิตภัณฑ์ และผลิตภัณฑ์นี้ได้รับการรับรองโดยองค์การอาหารและยา (อย.) มีเลขทะเบียนผลิตภัณฑ์เรียบร้อยแล้ว ซึ่ง " โดคุดามิ" นี้ได้ถูกส่งออกขายไปยังตลาดต่างประเทศ โดยมีตลาดใหญ่ ได้แก่ อเมริกา และแอฟริกา 

"โดคุดามิ" หรือ "พลูคาว" นอกจากใช้ได้ดีในผู้ป่วยโรคมะเร็งแล้ว ยังพบว่าสามารถใช้ได้ผลในผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน อัมพาต รักษาแผลเรื้อรังซึ่งสามารถใช้ทาแผลได้ และผลในการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคร้ายต่างๆ จะช่วยในการกระตุ้นการสร้างภูมิคุ้มกันในร่างกาย ซึ่งผลการทดลองในห้องปฎิบัติการพบว่าสามารถทำลายเชื้อ HIV-1(โรคเอดส์) เชื้อรา และแบคทีเรียหลายชนิดอีกด้วย 

สามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ http://www.tarad.com/proact
ที่มา:
ที่มาหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ฉบับวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2549
http://www.ist.cmu.ac.th/riseat/nl/2003/12/03.php
http://www.budpage.com/budboard/show_content.pl?b=1&t=10138

------------------------------------------------------------------------------
สมุนไพรพลูคาว Goldmax and Herborg

ตัวยา และ กรรมวิธีผลิตของเราได้รับการรับรองจากหลายสถาบัน เช่น GMP Halal  Pitch In!
อย 524-0997-1-0091
ขนาดบรรจุ 750 cc



  • ราคา 1950 บาท ลดพิเศษเหลือ 1499 บาท เท่านั้น

รวมค่าขนส่งถึงบ้านท่าน พร้อมการเก็บเงินปลายทาง COD ด้วย Kerry Logistic


พิเศษ ทางเราจะนำเงินรายได้ สมทบ รวมเป็น 200 บาท เพื่อทำบุญบริจาคสมุนไพรนี้ให้ พระ แม่ชี ผู้ยากไร้
เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้เจ้ากรรมนายเวรของลูกค้า ให้เขาไปสู่ภพภูมิอื่นๆ ไม่สามารถอยู่ทำอันตรายเราได้อีก เพราะ เราเชื่อว่าโรคร้าย คือ โรคกรรมโรคเวร ในอีกนัยยะหนึ่ง ในนามของ ทุนนิธิ ธรรมมะจัดสรรแบ่งปันน้ำใจ

  • การชำระเงิน 2 แบบ Payment

1. เก็บเงินปลายทาง COD ของ Kerry หรือ EMS

2. โอนเงินล่วงหน้า ผ่าน ธนาคาร ดังตอไปนี้
2.1 ธนาคาร กสิกรไทย Kasikorn
ออมทรัพย์
สาขามีโชคพลาซ่า (เชียงใหม่)
บัญชีเลขที่ 011-1-58974-7
ชื่อบัญชี พงศ์ศักดิ์ สุทธิวิวัฒน์ และ นางศิริลักษณ์ จันทรมานนท์
ทุนนิธิ ธรรมมะจัดสรร WHH

2. ธนาคารกรุงเทพ Bangkok Bank
ออมทรัพย์
สาขาท่าแพ เชียงใหม่
บัญชีเลขที่ 252-441044-2
ชื่อบัญชี พงศ์ศักดิ์ สุทธิวิวัฒน์

3. ธนาคารกรุงไทย Krungthai Bank
ออมทรัพย์
สาขามีโชคพลาซ่า (เชียงใหม่)
บัญชีเลขที่ 981-2-53056-8
ชื่อบัญชี พงศ์ศักดิ์ สุทธิวิวัฒน์

วิธีรับประทาน: 
        
1.ในกรณีรับประทานเพื่อปรับธาตุ ปรับน้ำเหลือง ปรับเลือด ให้ร่างกายพร้อมที่จะสร้างภูมิคุ้มกัน

  •              ให้ทาน 15 cc ต่อวัน เช้า หรือ ก่อนนอน 

             (ทานได้ถึง 50 วัน เฉลี่ยวันละ 29.98 บาท เพื่อสุขภาพ แต่ถูกกว่าก้วยเตี๋ยว 1 ชามซะอีก ครับ)
        
2..ในกรณีที่เข้ารับเคมีบำบัด ร่างกายจะทรุดโทรมจากทั้งโรคร้าย และ รับเคมีเข้าร่าง ต้องปรับน้ำเหลือง เลือด ให้ร่างกายแข็งแรงพอจะผ่านวิกฤติไปได้

  •               ให้ทาน 15 cc 2ครั้ง ต่อวัน เช้า และ ก่อนนอน (ทานได้ถึง 25 วัน เฉลี่ยวันละ 59.96 บาท เพื่อสุขภาพ แต่แค่พอๆกับ ข้าวกระเพราไข่ดาว ครับ)

             เรื่องจริงที่แปลกมาก  โดยส่วนมาก หมอและคณะพยาบาลจะห้ามทานสมุนไพร ซึ่งจริงแล้วดีกว่าเพราะเหมือนการทานผัก และ ยังมีทางรักษาเพิ่มมากขึ้นอีก เสริมการรักษาแผนปัจจุบันครับ

หมายเหตุ: มีถ้วยตวงแถมมาเรียบร้อย

รีบสั่งมาเลยครับ!!!! 
สุขภาพของคุณ และ คนที่คุณรัก สำคัญที่สุด

1. Inbox

2. line QR code ตามแนบ หรือ Line ID: kaew4847

3 Email: neomart@gmail.com

หมายเหตุ คนสมัยสุขภาพไม่แข็งแรง จึงต้องบำรุงกันมาก บางครั้ง สินค้าขาดก็ต้องรอ แต่โดยมากแล้วเราสามารถจัดส่งได้ วันถัดไป หลังสั่ง หรือ โอนเงิน

คำศัพท์โรคต่างๆ ( disease )

คำศัพท์โรคต่างๆ ( disease )



คำศัพท์
คำอ่าน

ความหมาย


rabies
เร'บีซ
พิษสุนัขบ้า

cold
โคลดํ
โรคไข้หวัด

Influenza
อินฟลูเอน'ซะ
ไข้หวัดใหญ่

gastritis
แกรสไทร'ทิส
โรคกระเพาะ

psychosis
ไซโค'ซิส
โรคจิต

sinusitis
ไซนะไซ'ทิส
โรคไซนัสอักเสบ

cataract
แคท'ทะแรคทฺ
โรคต้อแก้วตา

liver disease
ลิฟ'เวอะ ดิซีซ'
โรคตับ

hepatitis
เฮพอะไททิส
โรคตับอักเสบ
AIDS
เอดสฺ

เอดส์

alcoholism
แอลคะฮอลลิสซึม
โรคพิษสุราเรื้อรัง
allergy
แอล'เลอจี

ภูมิแพ้

anemia
อะนี'เมีย

โลหิตจาง

beriberi
เบอ'รีเบอ'รี
โรคเหน็บชา
cancer
แคน'เซอะ

มะเร็ง

chronic disease
ครอน'นิค ดิซีซ'
โรคเรื้อรัง
complication
คอมพลิเค'เชิน

โรคแทรกซ้อน

congenital disease
คันเจนนิเทิล ดิซีซ'

โรคประจำตัว

diabetes
ไดอะบี'ทิส

เบาหวาน

diarrhoea
ไดอะเรีย'
โรคท้องร่วง
diphtheria
ดิฟเธีย'เรีย

โรคคอตีบ

epidemic
เอพพิเดม'มิเคิล

โรคระบาด

eye inflection
อาย อินเฟล็คเชิน
โรคตาแดง
gonorrhoea
กอนนะเรีย

โรคหนองใน

heart disease
ฮารํท  ดิซีซ

โรคหัวใจ

heart failure
ฮารํท เฟลเลอรํ

หัวใจวาย

hepatitis B
เฮพพะไท'ทิส บี

โรคตับอักเสบบี

hypertension
ไฮ'เพอะเทนซัน

ความดันโลหิตสูง

illness
อิล'นิส

โรคภัยไข้เจ็บ

leprosy
เลพ'ระซี

โรคเรื้อน

malaria
มะแล'เรีย

มาลาเรีย

malnutrition disease
แมลนิวทริช'เชิน  ดิซีซ'
ขาดสารอาหาร
measles
มี'เซิลซํ

โรคหัด

mumps
มัมซฺ

คางทูม

neuralgia
นิวแรล'เจีย

โรคประสาท

otitis
โอไท'ทิส
โรคหูน้ำหนวก
paralysis
พะแรล'ลิซิส

อัมพาต

pertussis
เพอทัส'ซิส

โรคไอกรน

pneumonia
นิวมอน'เนีย

โรคปอดบวม

poliomyelitis
โพลิโอไมอะไล'ทิส

โรคโปลิโอ

rubella
รูเบล'ละ

โรคหัดเยอรมัน

skin disease
สกิน ดิซีซ'
โรคผิวหนัง
smallpox
สมอพอซ

ไข้ทรพิษ

syphilis
ซิส'ฟะลิส

ซิฟิลิส

tetanus
เทท'ทะนัส

โรคบาดทะยัก

tuberculosis
ทูเบอ'คิวโลซิส

วัณโรค

venereal disease
วะเนีย'เรียล ดิซิซ

กามโรค

yellow fever
เยลโล ฟีเวอรํ

ไข้เหลือง

Bacillus cereus / บาซิลลัส ซีเรียส

Bacillus cereus คือแบคที่เรีย (bacteria) ในกลุ่ม Bacillus ซึ่งเป็นชนิดที่ทำให้เกิดโรค (pathogen) ย้อมติดสีแกรมบวก (Gram positive bacteria) รูปร่างเป็นท่อน (rod shape) สร้างสปอร์ (spore forming bacteria) เจริญได้ในที่มีอากาศ (aerobic bacteria) สามารถสร้างสารพิษ (toxin) ที่ทนต่อความร้อนได้ เจริญได้ดีที่อุณหภูมิปานกลาง ในร่างกายมนุษย์และสัตว์เลือดอุ่น อุณหภูมิที่เหมาะสมคือ 28-37 องศาเซียลเซียส ไม่เจริญที่อุณหภูมิต่ำกว่า4 องศาเซียสเซียส และสูงกว่า 55 องศาเซลเซียล
Bacillus cereus (spore forming bacteria)

แหล่งที่พบ
พบทั่วไปในธรรมชาติในดิน น้ำเชื้อสร้างสปอร์ซึ่งทนความแห้งแล้งได้ดี สปอร์จึงพบได้ทั่วไปในฝุ่น ควัน และ ปะปนมากับอาหารแห้ง เช่น น้ำตาล วัตถุเจือปนอาหาร เครื่องเทศ และพบบ่อยในอาหารกลุ่ม แป้ง เมล็ดธัญชาติ (cereal grain) เช่น ข้าวหุงสุก เส้นก๋วยเตี๋ยว พาสต้า อาหารกึ่งสำเร็จรูป เช่น ข้าวกึ่งสำเร็จรูป

โรคและอาการของโรค
โรคอาหารเป็นพิษ (food poisoning) เกิดจากบาซิลัสซีเรียส ทำให้เกิดอาการ 2 ลักษณะ
  • อาการอาเจียน (Emetic syndrome) เกิดจากที่ร่างกายได้รับสารพิษ (intoxication) ที่แบคทีเรียสร้างขึ้นในอาหารก่อนที่จะบริโภคเข้าไป สารพิษนี้ทนต่ออุณหภูมิสูงและ ทนต่อความเป็นกรดในกระเพาะอาหารได้ดี ผู้ป่วยจะเกิดอาการคลื่นไส้และอาเจียน ภายหลังจากการบริโภคอาหารที่มีสารพิษเข้าไปประมาณ 5 ชั่วโมง โดยทั่วไปอาการเป็นอยู่ไม่เกิน 24 ชั่วโมง โรคอาหารเป็นพิษลักษณะนี้ มักเรียกว่า Chinese restaurant syndrome เนื่องจากมักพบในผู้ป่วยรับประทานอาหารจีน ซึ่งมักเป็นข้าวผัด ที่ทำจากข้าวสุกที่หุงค้างไว้นาน ทำให้แบคทีเรียเจริญเติบโตและสารพิษทนต่อความร้อน ก่อนนำมาปรุงหรือทำให้ร้อนใหม่
  • อาการถ่ายเหลว (Diarrhea syndrome) เกิดจากการบริโภคอาหารที่มีเซลล์ของแบคทีเรีย และเพิ่มจำนวนในลำไส้ของมนุษย์ ใช้เวลาฟักตัวประมาณ 8-16 ชั่วโมง มีสารพิษเอนเทอโรทอกซิน (enterotoxin) ที่ไม่ทนต่อความร้อน ทำให้เกิดอาการการปวดท้อง เป็นตะคริวที่ท้อง และถ่ายอุจจาระเหลวโดยทั่วไปอาการเป็นอยู่ไม่เกิน 14 ชั่วโมง ปริมาณเชื้อที่ทำให้เกิดโรค (infective dose) 100-100,000 เซลล์ต่อกรัม

สภาพแวดล้อมที่มีผลกับการเจริญอากาศ
เป็นแบคทีเรียที่ต้องการอากาศ (aerobic bacteria) เจริญได้ดีในสภาพที่มีออกซิเจน และจะสร้างสารพิษ (toxin) เมื่ออยู่ภายใต้สภาพที่มีออกซิเจนน้อย
อุณหภูมิ
ช่วงอุณหภูมิในการเจริญอยู่ระหว่าง 30-37 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดที่พบการเจริญคือ 55 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิต่ำสุดที่เจริญได้คือ 4 องศาเซลเซียส
ค่า pH ที่เหมาะสมต่อการเจริญของเชื้อชนิดนี้อยู่ระหว่าง 6-7
วอเตอร์แอคทิวิตี (water activity,aw ) วอเตอร์แอคทิวิตีต่ำสุด (ด้วยเกลือแกง) ที่เชื้อนี้เจริญได้คือ 0.92

อาหารที่เกี่ยวข้อง
การป้องกัน
- หุงต้ม ผัด อาหาร ให้ร้อนจัด อุ่นให้เดือด และเก็บอาหารที่ทำให้สุกแล้วที่อุณหภูมิต่ำ หลีกเลี่ยงการเก็บอาหารช่วงอุณหภูมิที่เป็นอันตราย คือ 4-55 องศาเซลเซียส
- ควบคุมให้พนักงาน หรือบุคคล ที่สัมผัสกับอาหาร มีสุขอนามัยที่ดี (personal hygiene)
- ป้องกันการเกิดปนเปื้อนข้าม (cross contamination) โดยเฉพาะอาหารที่ปรุงสุก อาหารพร้อมรับประทาน กับอาหารดิบ
- ผลิตอาหารให้ถูกสุขลักษณะ ตามหลัก GMP (Good Manufacturing Practice)